Page Header

การฟื้นฟูป่าสักเมืองไทยด้วยเอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกาย

กรวิชช์ ณ ถลาง, กิตติ โพธิปัทมะ

Abstract


บทคัดย่อ
การเกิดเอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกายเป็นหนึ่งในจุดเปลี่ยนที่สาคัญในเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพราะปรากฏการณ์นี้จะให้เอ็มบริโอแบบไม่อาศัยเพศซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในรูปแบบต่าง ๆ ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับการพัฒนาป่าไม้ ไม้ต้นหลายชนิดที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเกิดขึ้นโดยผ่านวิถีการเกิดอวัยวะ อย่างไรก็ตามไม้ป่าที่ได้จากการเกิดอวัยวะหลังจากการย้ายออกปลูกแล้วจะมีความอ่อนแอต่อภัยธรรมชาติเนื่องจากไม่มีรากแก้ว ในแง่นี้เอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกายจึงเป็นทางเลือกหนึ่งซึ่งให้โอกาสที่ดีกว่าสาหรับการฟื้นฟูป่า ปัจจุบันไม้สักเป็นไม้ที่มีราคาสูงมากในประเทศไทย และที่ผ่านมาการผลิตกล้าไม้ของพืชชนิดนี้ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมักอาศัยการเกิดอวัยวะ บทความปริทัศน์นี้ได้สรุปเนื้อหางานวิจัยเกี่ยวกับการเกิดเอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกายของสักและอภิปรายถึงประโยชน์ของการเกิดเอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกายที่เหนือกว่าการเกิดอวัยวะในการปลูกป่าสักทดแทน
คาสาคัญ: การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช สัก การเกิดเอ็มบริโอจากเซลล์ร่างกาย

Abstract
Somatic embryogenesis is one of the great turning points in plant tissue culture technology because this phenomenon provides an asexual embryo that could be applied in various ways especially for forest improvement. Many tissue cultured trees were produced via organogenic pathway. However, those organogenic forest plants, after deflasking, were vulnerable for natural disaster due to them lacking of tap roots. In this way, somatic embryo would be an alternative method offering the better chance for forest restoration. Currently, teak timber is very expensive in Thailand and, so far, the seedling production of this plant species through tissue culture mostly was organogenesis. The present review article summaries teak somatic embryogenesis research and discusses the advantage of somatic embryogenesis over organogenesis on teak reforestation.
Keywords: plant tissue culture, teak, somatic embryogenesis


Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.