ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การปรับตัวของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการทานาแปลงใหญ่ในจังหวัดปทุมธานี Adaptation of Farmers towards Extension of Large-scale Farming in Pathum Thani Province

สุชญา เต็มงามธนา, ธานินทร์ คงศิลา, สาวิตรี รังสิภัทร์

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลและการเปิดรับข้อมูลข่าวสาร ของเกษตรกรที่ปลูกข้าวในจังหวัดปทุมธานี 2) ศึกษาการปรับตัวของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการทานาแปลงใหญ่ใน จังหวัดปทุมธานี และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลและการเปิดรับข้อมูลข่าวสารกับการปรับตัวของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการทานาแปลงใหญ่ในจังหวัดปทุมธานี จานวน 245 ราย การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์
ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ยเท่ากับ 52 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่าประถมศึกษา มีจานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ยเท่ากับ 4 คน มีประสบการณ์ในการปลูกข้าวเฉลี่ยเท่ากับ 26 ปี อาชีพหลักเป็นการทาและไม่มีอาชีพรอง สื่อบุคคล คือ เจ้าหน้าที่ของภาครัฐ สื่อมวลชน คือโทรทัศน์ สื่อเฉพาะกิจ คือ การเข้าร่วมประชุม 2) เกษตรกรมีระดับการปฏิบัติบ่อยครั้ง ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการชุมชน เกษตรกรมีระดับการปฏิบัติบางครั้ง ได้แก่ ด้านการลดต้นทุน ด้านการเพิ่มผลผลิตและ และระดับการปฏิบัติน้อยครั้งหรือไม่ปฏิบัติ ได้แก่ ด้านการตลาด และ 3) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประสบการณ์ทานา จานวนสมาชิกในครัวเรือน และสื่อมวลชนมีความสัมพันธ์กับการปรับตัวของเกษตรกรต่อการส่งเสริมการทานาแปลงใหญ่ในจังหวัดปทุมธานีที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ .05


Keywords


การปรับตัว นาแปลงใหญ่ เกษตรกร จังหวัดปทุมธานี

[1] กรมการข้าว. (2558). .การปลูกข้าว.
(2 พฤษภาคม 2560). สืบค้นจาก แหล่งข้อมูล:
http://www.ricethailand.go.th.
[2] สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ. (2558).
แผนปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีเพื่อรองรับการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย:
การปรับตัวภาคการเกษตร. (2 พฤษภาคม 2560).
สืบค้นจาก แหล่งข้อมูล: http://www.sti.or.th
[3] สานักงานเกษตรเกษตรจังหวัดปทุมธานี. (2558).
ข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตรจังหวัดปทุมธานีปี
2557/58. (2 พฤษภาคม 2560). สืบค้นจาก
แหล่งข้อมูล: http://www. pathumthani
.doae.go.th
[4] สุรินทร์ นิยมางกูร. (2556). ระเบียบวิธีวิจัยทาง
สังคมศาสตร์และสถิติที่ใช้. กรุงเทพมหานคร:
บุ๊คส์ ทู ยู.
[5] ธานินทร์ คงศิลา และอนุสรณ์ กุลวงษ์. (2560)
การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการใช้น้าชลประทาน
โครงการพัฒนาลุ่มน้าก่าอันเนื่องมาจากพระราชดาริ.
วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1
กรกฎาคม – ธันวาคม 2560.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI