ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐานผ่านระบบ Google Education ของหลักสูตรสาขาเคหบริบาล โรงเรียนพระดาบส The Development and Efficiency of Basic Computer Instructional Package through the Google Education System for Elderly Care Curriculu

ปิ่นรัตน์ นวชาตธารง, อมรรัตน์ แก้วคาบ้ง

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพชุดการสอนวิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน ผ่านระบบ Google Education ของหลักสูตรสาขาเคหบริบาล โรงเรียนพระดาบส กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบประสิทธิภาพเป็นนักเรียนในหลักสูตรสาขาวิชาเคหบริบาล โรงเรียนพระดาบส จานวน 18 คน ชุดการสอนที่พัฒนาขึ้นมีจานวน 3 บทเรียน และ 19 ใบงาน โดยในแต่ละบทเรียนประกอบไปด้วย ตารางสอน ใบเนื้อหา ใบงาน แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติงาน งานนาเสนอพาวเวอร์พอยต์ กิจกรรมการเรียนการสอนผ่าน Google Education แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ผลการวิจัยพบว่า ชุดการสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพร้อยละ 88.33/82.78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด 80/80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนมีความแตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสาคัญ .01 และผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนพบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดการสอนอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการจัดกิจกรรมชุดการสอน ด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านสถานที่เรียนและความสะดวกในการเรียน และด้านองค์ความรู้และการฝึกปฏิบัติที่ได้รับ ดังนั้น สรุปได้ว่า ชุดการสอนวิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐานที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ


Keywords


<p>ชุดการสอน, คอมพิวเตอร์พื้นฐานสาหรับหลักสูตรสาขาเคหบริบาล โรงเรียนพระดาบส, การศึกษานอกระบบ,<br />กูเกิ้ลเอ็ดดูเคชัน</p>

[1] ชวลิต โพธิ์นคร. (2560). “ห้องสมุดดิจิทัลกับการก้าวสู่ยุค Thailand 4.0”, ใน การประชุมใหญ่สามัญประจาปี 2559, มหาวิทยาลัยมหิดล, นครปฐม, 23 มีนาคม 2560.
[2] หาญศึก เล็บครุฑ และปรัชญนันท์ นิลสุข. “แนวคิดการ
ใช้สารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดกระบวนการคิด”,วารสารวิทยบริการ, 2553, 21(1), 1-9.
[3] ไพรัชนพ วิริยวรกุล และดวงกมล โพธิ์นาค. (2557).
Google Apps for Education นวัตกรรมทางการศึกษายุคดิจิทัล. วารสารวิจัย มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 7(3), 103-111.
[4] รายงานประจาปี 2559. สานักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพมหานคร : ศูนย์ผลิตตาราเรียน มจพ. หน้า 76 – 79.
[5] โครงการพระดาบส โครงการตามกระแสพระราชดาริ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร. สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ.มูลนิธิมั่นพัฒนา, สืบค้นเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2561, จาก http://www.tsdf.or.th/ th/royally-initiated-projects/
[6] โรงเรียนพระดาบส. (2556). บทสรุปผู้บริหาร การสารวจ
วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้สาเร็จการศึกษาและความพึงพอใจของผู้ประกอบการ/ผู้บังคับบัญชา/นายจ้างที่มีต่อผู้สาเร็จการศึกษาของโรงเรียนพระดาบส รุ่นที่ 32 - 35. กรุงเทพมหานคร : โรงเรียนพระดาบส. หน้า 95 - 101.
[7] อรุณี อ่อนสวัสดิ์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. พิษณุโลก :
มหาวิทยาลัยนเรศวร.
[8] ธัลย์พิฌชา ขาชุ่ม และจิรพันธุ์ ศรีสมพันธุ์, “การพัฒนา
บทเรียนออนไลน์ เรื่อง การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์
ด้วย Google Application” ใน, การประชุมวิชาการ
ระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยเพื่อแผ่นดินไทยที่นั่งยืน
ครั้งที่ 7 “สหวิทยาการ สู่ไทยแลนด์ 4.0”, มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเพชรบุรี, 15 กรกฎาคม 2560, หน้า 395.
[9] เอกรินทร์ วาโย, “การพัฒนาชุดฝึกการเรียนรู้ออนไลน์
โดยใช้กระบวนการเรียนการสอนแบบร่วมมือ รายวิชา
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น”, วารสารการอาชีวะและ
เทคนิคศึกษา, 2560, 7 (14) หน้า 1 - 8.
[10] ปิ่นรัตน์ นวชาตธารง. “การพัฒนาชุดสื่อการเรียนการ
สอนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานเฉพาะอาชีพ หลักสูตร
สาขาวิชาเคหบริบาล”, วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา,
2558, 97 (1) หน้า 44 - 48.
[11] เพชราวลัย ถิระวณัฐพงศ์ และคณะ. “การพัฒนา
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การใช้นวัตกรรม
Google Apps. for Education สาหรับนักศึกษา
ระดับปริญญาตรี”, วารสารแม่โจ้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และนวัตกรรม, 2558, 1 (1) หน้า 14 - 24.
[12] บุญเหลือ หอมเนียน. “การพัฒนาชุดการสอนโดยใช้
ปัญหาเป็นฐานผ่านสื่อสังคมเพื่อส่งเสริมทักษะชีวิต
ด้านการคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่าง
สร้างสรรค์ สาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาค
กลางตอนบน”, วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี,
2559, 8 (1) หน้า 197 - 198.
[13] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. การสร้างชุดการสอน : ชุดการสอน.
สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2559, จาก
https://www.Ino-sawake.blogsport.com/

[14] พงศ์ศิริ อ่อนคา. (2555). การพัฒนาชุดการสอนแบบ

ศูนย์การเรียน เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้สีน้าสาหรับ
นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. การศึกษาค้นคว้าอิสระ
หลักสูตรปริญญาศิลปมหาบัณฑิต สาขาวิชาทัศน
ศิลปศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI