Page Header

ปัจจัยสมรรถนะที่สัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มปฏิบัติการสาขาที่ผ่านการอบรมรูปแบบ E-Learning กรณีศึกษา : บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)

Nattawat Srirod, Chuleewan Chotiwong, Jutharat Pinthapataya

Abstract


การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยสมรรถนะ 2) ปัจจัยประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มปฏิบัติการสาขาที่ผ่านการอบรมรูปแบบ E-Learning และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสมรรถนะและปัจจัยประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานกลุ่มปฏิบัติการสาขาที่ผ่านการอบรมรูปแบบ E-Learning ของบริษัท โฮม โปร ดักส์ เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 207 คน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านสมรรถนะ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.27) เมื่อพิจารณา ในรายด้านเรียงลำดับค่าเฉลี่ย พบว่าด้านคุณลักษณะ (x̄ = 4.37) ด้านความรู้ (x̄ = 4.25) และด้านทักษะ (x̄ = 4.20) ปัจจัยด้านประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย พบว่า ด้านคุณภาพในการปฏิบัติงาน (x̄ = 4.39) ด้านปริมาณของงาน (x̄ = 4.29) ด้านเวลาในการปฏิบัติงาน (x̄ = 4.26) และด้านค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงาน (x̄ = 4.26) ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสมรรถนะโดยรวมและประสิทธิภาพของพนักงานโดยรวมมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรสังเกตได้ส่วนใหญ่ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ที่ระดับ 0.828 อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

The objectives of this study were to investigate 1) competency factors, 2) work efficiency among branch operations employees who have undertaken e-learning training, and 3) the relationship between the abovementioned factors. Samples comprised 207 operations staff members of Home Product Center Public Company Limited who have undertaken in online training. The survey data collection method was utilized whereas statistical analysis methods covered the frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s Product Moment Correlation. As results, overall opinion on competencies was at a high level (x̄ = 4.27), as disclosed in a descending order as follows; Attributes (x̄ = 4.37), Knowledge (x̄ = 4.25), and Skill (x̄ =3.80). Staff’s overall work efficiency was assessed in a high level (x̄ = 4.26), detailed as follows: performance quality (x̄ = 4.39), quantity of work (x̄ = 4.29), operating time (x̄ = 4.26) and operational costs (x̄ = 4.26). Based on the bivariate Pearson Correlation measures , a significant and positive relationship exists between the 2 variables, i.e. the competency factors and work efficiency (r= 0.828, p<.05).


Keywords



[1] ณัฐณิชาช์ มาศวิศาลพงศ์. (2561). การศึกษารูปแบบการติดต่อสื่อสารที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท คิง เพาเวอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด. คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[2] McClelland, D. C. (1973). Testing for competence rather than for "intelligence." American Psychologist, 28(1), 1–14.
[3] วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). ความรู้พื้นฐานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. โรงพิมพ์วิจิตรหัตถกร.
[4] ทัศนีย์ ศุภเมธี. (2552). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการฝึกอบรมวิธีสอนภาษาไทยและประสิทธิภาพทางการฝึกสอนของนักศึกษาโปรแกรมวิชาเอกสายภาษาไทย. คณะครุศาสตร์. วิทยาลัยครูธนบุรี.
[5] วีรยา เหมาะสมสกุล. (2561) แรงจูงใจที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน. คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
[6] โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จากัด (มหาชน). (2561). รายงานประจาปี [ออนไลน์]. [สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2562]. http://hmpro-th.listedcompany.com/ar.html.
[7] Peterson, Elmore, Plowman, E. Grosvenor. (1953). Business Organization and Management. Home wood. Illionoise: Richard D. Irwin.
[8] Spencer, L.M. and Spencer, S.M. (1993) Competence at Work: Models for Superior Performance. John Wiley & Sons, New York.
[9] Parry, Scott B. (1997). Evaluating the Impact of Training. Alexandria. Virginia: American Society for Training and Development.
[10] สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2553). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน : คู่มือสมรรถนะหลัก. กรุงเทพมหานคร. บริษัท ประชุมช่าง จำกัด.
[11] Millett, John D. (1954). Management in the public service: the quest for effective performance. New York: Mc Graw-Hill.
[12] Gilmer, V.B. (1967). Industrial and Organization Psychology. New York. McGraw-Hill.
[13] ทัศนวรรณ แก้วศรีหน่อ. (2554). การพัฒนาตัวชี้วัดสมรรถนะเฉพาะงานของบุคลากรสายสนับสนุน. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
[14] Zaleanick et al. (1958). Motion productivity and Satisfaction of worker. Massachusetts: Division of Research. Harvard University.
[15] ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2546). การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 3). เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Full Text: PDF

DOI: 10.14416/j.bid.2021.02.006

Refbacks

  • There are currently no refbacks.