Page Header

การวิเคราะห์องค์ประกอบด้านซอฟต์สกิลที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี

Suang-i Anunthawichak, Phairhoote Phiphopaekasit, Chadaporn Kumwong, Natcha Srirasan, Padcha Sirisamohan

Abstract


การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบด้านซอฟต์สกิล (Soft skill) ที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่ได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัย คือ พนักงานที่เกี่ยวข้องกับฝ่ายผลิต จำนวน 157 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบโควต้า และเปรียบเทียบสัดส่วน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจแบบหมุนแกน ด้วยวิธีวาริแม็กซ์ (Varimax) ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบด้านซอฟต์สกิลที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดสระบุรี พบว่า ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนาตนเอง (ค่า Eigenvalues = 20.478) องค์ประกอบที่ 2 การวางแผน (ค่า Eigenvalues = 1.695) องค์ประกอบที่ 3 การทำงานเป็นทีม (ค่า Eigenvalues = 1.426) องค์ประกอบที่ 4 ภาวะผู้นำ (ค่า Eigenvalues = 1.181) และองค์ประกอบที่ 5 การสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจร่วมกัน (ค่า Eigenvalues = 1.047)


The research aimed to analyze the soft skill composition necessary to leverage the work performance of production staff in a cement manufacturing industry in Saraburi Province using a survey method. The questionnaire was used and was assessed by 3 experts. The sample group used in the research was 157 employees involved in the production department, using quota and proportional sampling. Data were analyzed in percentage, mean, and exploratory factor analysis with the Varimax method. The result revealed that the soft skill composition necessary to leverage the work performance of production staff in a cement manufacturing industry in Saraburi province is composed of 5 components: Component 1 Self-Development (Eigenvalues = 20.478), Component 2 Planning (Eigenvalues = 1.695), Component 3 Teamwork (Eigenvalues = 1.426), Component 4 Leadership (Eigenvalues = 1.181), and Component 5 Building Relationships and Mutual Trust (Eigenvalues = 1.047).


Keywords



[1] Spencer, L.M. & Spencer, S.M. (1993). Competency at Work : Models for Superior Performance. New York : John Wiley & Sons.

[2] Weber, M. R., Crawford, A., Lee, J., & Dennison, D. (2013). An Exploratory Analysis of Soft Skill Competencies Needed for the Hospitality Industry. Journal of Human Resources in Hospitality & Tourism, 313-332.

[3] Fakhri, M., & Setyaningrum, N. (2013). Students’ Soft Skills Factor Analysis in Telkom university Department of Business Administration. International Journal of Science and Research (IJSR), 680-682.

[4] สรวงอัยย์ อนันทวิจักษณ์ สุภัททา ปิณฑะแพทย์ กุญชรี ค้าขาย และ วิเชียร เกตุสิงห์. (2558). องค์ประกอบของการเสริมสร้างศักยภาพของผู้บริหาร. วารสารการบริหารท้องถิ่น, 76-93.

[5] Ahmed, F., Fernando, L. C., & Bouktif, S. (2015). Soft skills and software development: A reflection from the software industry. International Journal of Information Processing and Management, 4(3):171-191. doi: 10.4156/ijipm.vol14.issue3.17

[6] Warwick, J.., & and Howard, A. (2015). A note on structuring employability skills for accounting students. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 5(10), 165-174.

[7] Cukier, W., Hodson, J., & Omar, A. Soft'skills are hard: A review of the literature. Toronto: Ryerson University. https://www.ryerson.ca/content/dam/diversity/reports/KSG2015_SoftSkills_FullReport. pdf, , 165-174.

[8] Moore, K. A., Caal, S., Carney, R., Lippman, L., Li, W., Muenks, K., ... & Ryberg, R. (2015). Workforce connections: Key soft skills that foster youth workforce success. Child Trends Publication, 24.

[9] พัชรี สร้อยสกุล. (2559). การพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สําหรับนักศึกษาอาชีวศึกษาเอกชนในเขตพัฒนาอุตสาหกรรม. การศึกษาดุษฎีบัณฑิต: มหาวิทยาลัยบูรพา.

[10] เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช, ผ่องศรี วาณิชย์ศุภวงศ์, วุฒิชัย เนียมเทศ และณัฐวิทย์ พจนตันติ. (2016). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการพัฒนานักศึกษา. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 3(2), 208-222.

[11] Levant, Y., Coulmont, M. & Sandu, R. (2016). Business simulation as an active learning activity for developing soft skills. Accounting Education, 25(4), 368-395.

[12] ชโลทร โชติกีรติเวช และวัลลภา อารีรัตน์. (2560). ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะ Soft Skills เพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(1), 44–52.

[13] อนวัช จิตรักษ์, และกนกอร สมปราชญ์. (2562). ตัวบ่งชี้ทักษะชีวิตและการทำงานของครูผู้ช่วยในโรงเรียนประถมศึกษาในภาคตะวันออกฉียงเหนือ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 13(1), 283-285.

[14] Matteson, M.L., McShane, M., & Hankinson, E. (2019). Soft Skills Revealed : An Examination of Relational Skills in Librarianship. ACRL 2019 Proceedings", American Library Association, .http://www.ala.org/acrl/conferences/acrl2019/papers

[15] กัลยา วานิชย์บัญชา. (2553). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

[16] Hair, J. F., Ringle, C. M., & Sarstedt, M. (2013). Editorial - Partial Least Squares Structural Equation Modeling: Rigorous Applications, Better Results and Higher Acceptance. Long Range Planning, International Journal of Strategic Management 46 (1-2) , 1-12. doi: 10.1016/j.lrp.2013.01.001

[17] บุญชม ศรีสะอาด (2543). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

[18] คะนึงนิจ อนุโรจน์. (2017). การรักษาคนเก่งให้คงอยู่คู่กับองค์กร. NDC Security Review ฉบับที่ 8 , 21. มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(1), 44-52.

[19] Senge, P. M. (2553). The Fifth Discipline: The Art & Practice of The Learning Organization. New York: Bantam Doubleday Dell Publishing Group.

[20] Hersey, P., & Blanchard, K. H. (1977). Management of organizational behavior: Utilizing human resources. Englewood Cliffs, N.J: Prentice-Hall.

[21] Reddin, W.J. (1967). 3-D Management style theory-typology based on task and relationships orientations. Training and Development journal, 21(4), 8-17.

[22] Brockett, R. G., & Hiemstra. (1991). Self-Direction in Adult Learning: Perspectives on Theory, Research, and Practice (Theory and Practice of Adult Education in North America). New York: Routledge.

[23] Sullivan, H. S. (1953). The interpersonal theory of psychiatry (HS Perry & ML Gawel, Eds.). Washington: Norton & Co.

Full Text: PDF

DOI: 10.14416/j.bid.2022.07.002

Refbacks

  • There are currently no refbacks.